Moocable is learner-supported. When you buy through links on our site, we may earn an affiliate commission.

โปรแกรมไพทอนสำหรับวิทยาการข้อมูล | Python Programming for Data Science

Description

รายวิชานี้ได้ปรับเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย (Self-Paced Learning) .textcenter01 { text-indent: 50px; text-align:justify; } คำอธิบายรายวิชา ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างรวดเร็ว เกิดข้อมูลขนาดใหญ่บนระบบคอมพิวเตอร์ ส่งผลให้การพัฒนางานเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านวิทยาการข้อมูลเป็นที่ต้องการอย่างมาก โดยภาษาไพทอนนั้นเป็นภาษาหนึ่งที่มีผู้สนใจต้องการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ดังกล่าว การพัฒนารายวิชานี้จึงเป็นประโยชน์และเปิดโอกาสผู้ที่สนใจสามารถเข้ามาศึกษาได้ การแนะนำเครื่องมือการเขียนโปรแกรมและไลบรารีที่จำเป็น Jupyter Notebook ทบทวนเทคนิคการเขียนโปรแกรมไพทอนพื้นฐานเช่น lambda, การจัดการไฟล์ .csv กระบวนการของวิทยาศาสตร์ข้อมูล การใช้ไลบรารี Pandas and Dataframe สำหรับการจัดการข้อมูลและเทคนิคการทำความสะอาดข้อมูลด้านวิทยาการข้อมูล การใช้ไลบรารี Numpy เพื่อการคำนวณทางวิทยาศาสตร์ และ การใช้ไลบรารี Mathplotlib เพื่อการแสดงผลข้อมูล จำนวนชั่วโมงเรียนรู้ทั้งหมด 10 ชั่วโมงการเรียนรู้ (จำนวนชั่วโมงสื่อวีดิทัศน์ 3 ชั่วโมง 30 นาที) วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. ผู้เรียนสามารถบอกเทคนิคการพัฒนาโปรแกรมภาษาไพทอนสำหรับการนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการข้อมูลได้ 2. ผู้เรียนสามารถอธิบายไลบรารีของภาษาไพทอนที่ใช้สำหรับการจัดการข้อมูลและเทคนิคการ Cleansing data ได้ 3. ผู้เรียนสามารถอธิบายการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการเรียนรู้ด้วยเครื่องได้ คุณสมบัติผู้เรียน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ทุกเพศ ทุกวัย ที่สนใจสามารถเรียนได้ เกณฑ์การวัดผล เข้าทำแบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมในบทเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้ ทีมผู้รับผิดชอบรายวิชา MOOC อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหลัก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสมอแข สมหอม วิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาร่วม อาจารย์ ดร.อารีรัตน์ ตรงรัศมีทอง วิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาร่วม อาจารย์ ดร.รัศมีทิพย์ วิตา วิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ช่องทางติดต่อทีมผู้สอน e-Mail : denthana.dechap@cmu.ac.th / เบอร์โทรศัพท์ : 097-920-9893 Creative commons สัญญาอนุญาตสิทธิ์ “สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Thai MOOC (thaimooc.org) และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BY NC SA”

Online Courses

ThaiMOOC

โปรแกรมไพทอนสำหรับวิทยาการข้อมูล | Python Programming for Data Science

Affiliate notice

  • Type
    Online Courses
  • Provider
    ThaiMOOC

รายวิชานี้ได้ปรับเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย (Self-Paced Learning) .textcenter01 { text-indent: 50px; text-align:justify; } คำอธิบายรายวิชา ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างรวดเร็ว เกิดข้อมูลขนาดใหญ่บนระบบคอมพิวเตอร์ ส่งผลให้การพัฒนางานเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านวิทยาการข้อมูลเป็นที่ต้องการอย่างมาก โดยภาษาไพทอนนั้นเป็นภาษาหนึ่งที่มีผู้สนใจต้องการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ดังกล่าว การพัฒนารายวิชานี้จึงเป็นประโยชน์และเปิดโอกาสผู้ที่สนใจสามารถเข้ามาศึกษาได้ การแนะนำเครื่องมือการเขียนโปรแกรมและไลบรารีที่จำเป็น Jupyter Notebook ทบทวนเทคนิคการเขียนโปรแกรมไพทอนพื้นฐานเช่น lambda, การจัดการไฟล์ .csv กระบวนการของวิทยาศาสตร์ข้อมูล การใช้ไลบรารี Pandas and Dataframe สำหรับการจัดการข้อมูลและเทคนิคการทำความสะอาดข้อมูลด้านวิทยาการข้อมูล การใช้ไลบรารี Numpy เพื่อการคำนวณทางวิทยาศาสตร์ และ การใช้ไลบรารี Mathplotlib เพื่อการแสดงผลข้อมูล จำนวนชั่วโมงเรียนรู้ทั้งหมด 10 ชั่วโมงการเรียนรู้ (จำนวนชั่วโมงสื่อวีดิทัศน์ 3 ชั่วโมง 30 นาที) วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. ผู้เรียนสามารถบอกเทคนิคการพัฒนาโปรแกรมภาษาไพทอนสำหรับการนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการข้อมูลได้ 2. ผู้เรียนสามารถอธิบายไลบรารีของภาษาไพทอนที่ใช้สำหรับการจัดการข้อมูลและเทคนิคการ Cleansing data ได้ 3. ผู้เรียนสามารถอธิบายการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการเรียนรู้ด้วยเครื่องได้ คุณสมบัติผู้เรียน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ทุกเพศ ทุกวัย ที่สนใจสามารถเรียนได้ เกณฑ์การวัดผล เข้าทำแบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมในบทเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้ ทีมผู้รับผิดชอบรายวิชา MOOC อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหลัก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสมอแข สมหอม วิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาร่วม อาจารย์ ดร.อารีรัตน์ ตรงรัศมีทอง วิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาร่วม อาจารย์ ดร.รัศมีทิพย์ วิตา วิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ช่องทางติดต่อทีมผู้สอน e-Mail : denthana.dechap@cmu.ac.th / เบอร์โทรศัพท์ : 097-920-9893 Creative commons สัญญาอนุญาตสิทธิ์ “สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Thai MOOC (thaimooc.org) และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BY NC SA”