Moocable is learner-supported. When you buy through links on our site, we may earn an affiliate commission.

นวัตกรรมการเรียนรู้ในงานอาชีวศึกษา | Innovation and Technology in Vocational Education

Description

รายวิชานี้ได้ปรับเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย (Self-Paced Learning) ผู้เรียนจะได้ความรู้เกี่ยวกับความเป็นมาความเชื่อดังเดิม และความเป็นวิทยาศาสตร์ตลอดจนการพัฒนามาเป็นนวัตกรรม รูปแบบการเรียนรู้ ทั้งแบบเรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้โดยการร่วมมือกัน แบบชุมชนนักปฏิบัติ รวมถึงขั้นตอนและกระบวนการในการจัดการเรียนรู้อย่างเหมาะสม เทคโนโลยีและสื่อดิจิทัล และการเข้าถึงเทคโนโลยีในยุคดิจิทัลที่หลากหลายช่องทาง การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ผ่านเทคโนโลยีและสื่อดิจิทัล การเก็บองค์ความรู้ของตนเพื่อนำมาสรุป เตรียมพร้อมในการนำเสนอและเผยแพร่ผ่าน Social Media กระบวนการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล การใช้งานเทคโนโลยีและสื่อดิจิทัลในงานอาชีวะในรูปแบบต่างรวมถึงการหาคุณภาพเครื่องมือก่อนการนำไปใช้วัดผลในรูปแบบต่าง ๆ จำนวนชั่วโมงเรียนรู้ทั้งหมด 5 ชั่วโมงเรียนรู้ โดยเรียนรู้ 1-2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (จำนวนชั่วโมงสื่อวีดิทัศน์ 1 ชั่วโมง 45 นาที) 1. ผู้เรียนสามารถอธิบายขยายความของคำว่า นวัตกรรม และเทคโนโลยีได้ 2. ผู้เรียนสามารถอธิบายเทคโนโลยีที่ใช้ในการเรียนรู้ได้ 3. ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ในงานอาชีวศึกษาได้ 4. ผู้เรียนสามารถออกแบบและนำเทคโนโลยีไปประยุกต์เป็นนวัตกรรมในงานอาชีวศึกษาได้ยั่งยืนได้กรดิจิทัลอย่างยั่งยืนได้ 5. ผู้เรียนสามารถประเมินผลการใช้งานเทคโนโลยีและสื่อดิจิทัล เพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนานวัตกรรมในงานอาชีวศึกษาได้ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ทุกเพศ ทุกวัย ที่สนใจสามารถเรียนได้ เข้าทำแบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมในบทเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน เก็บคะแนน 60% และแบบทดสอบหลังเรียน เก็บคะแนน 40% ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้ อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหลัก รศ.ดร.สุรพล บุญลือ อาจารย์ประจำสาขา ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิ อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาร่วม ดร.ไพฑูรย์ กานต์ธัญลักษณ์ อาจารย์ประจำสาขา ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีช่องทางติดต่อทีมผู้สอน e-Mail Paitoon.kan@kmutt.ac.th

Tags
Online Course


นวัตกรรมการเรียนรู้ในงานอาชีวศึกษา | Innovation and Technology in Vocational Education

Affiliate notice

รายวิชานี้ได้ปรับเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย (Self-Paced Learning) ผู้เรียนจะได้ความรู้เกี่ยวกับความเป็นมาความเชื่อดังเดิม และความเป็นวิทยาศาสตร์ตลอดจนการพัฒนามาเป็นนวัตกรรม รูปแบบการเรียนรู้ ทั้งแบบเรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้โดยการร่วมมือกัน แบบชุมชนนักปฏิบัติ รวมถึงขั้นตอนและกระบวนการในการจัดการเรียนรู้อย่างเหมาะสม เทคโนโลยีและสื่อดิจิทัล และการเข้าถึงเทคโนโลยีในยุคดิจิทัลที่หลากหลายช่องทาง การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ผ่านเทคโนโลยีและสื่อดิจิทัล การเก็บองค์ความรู้ของตนเพื่อนำมาสรุป เตรียมพร้อมในการนำเสนอและเผยแพร่ผ่าน Social Media กระบวนการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล การใช้งานเทคโนโลยีและสื่อดิจิทัลในงานอาชีวะในรูปแบบต่างรวมถึงการหาคุณภาพเครื่องมือก่อนการนำไปใช้วัดผลในรูปแบบต่าง ๆ จำนวนชั่วโมงเรียนรู้ทั้งหมด 5 ชั่วโมงเรียนรู้ โดยเรียนรู้ 1-2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (จำนวนชั่วโมงสื่อวีดิทัศน์ 1 ชั่วโมง 45 นาที) 1. ผู้เรียนสามารถอธิบายขยายความของคำว่า นวัตกรรม และเทคโนโลยีได้ 2. ผู้เรียนสามารถอธิบายเทคโนโลยีที่ใช้ในการเรียนรู้ได้ 3. ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ในงานอาชีวศึกษาได้ 4. ผู้เรียนสามารถออกแบบและนำเทคโนโลยีไปประยุกต์เป็นนวัตกรรมในงานอาชีวศึกษาได้ยั่งยืนได้กรดิจิทัลอย่างยั่งยืนได้ 5. ผู้เรียนสามารถประเมินผลการใช้งานเทคโนโลยีและสื่อดิจิทัล เพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนานวัตกรรมในงานอาชีวศึกษาได้ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ทุกเพศ ทุกวัย ที่สนใจสามารถเรียนได้ เข้าทำแบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมในบทเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน เก็บคะแนน 60% และแบบทดสอบหลังเรียน เก็บคะแนน 40% ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้ อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหลัก รศ.ดร.สุรพล บุญลือ อาจารย์ประจำสาขา ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิ อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาร่วม ดร.ไพฑูรย์ กานต์ธัญลักษณ์ อาจารย์ประจำสาขา ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีช่องทางติดต่อทีมผู้สอน e-Mail Paitoon.kan@kmutt.ac.th