Moocable is learner-supported. When you buy through links on our site, we may earn an affiliate commission.

การออกแบบกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน | Instructional Graphic Design

Description

คำอธิบายรายวิชา เรียนรู้เกี่ยวกับหลักการและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบกราฟิกทั้งไทยและต่างประเทศ อินโฟกราฟิก การสร้างสารสนเทศทางกราฟิก การใช้กราฟิกในงานสื่อสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ วีดิทัศน์ และมัลติมีเดีย การใช้งานกราฟิกที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้เรียนในระดับต่าง ๆ กระบวนการคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ การวิเคราะห์งานออกแบบกราฟิก การฝึกปฏิบัติการออกแบบกราฟิกโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ การนำเสนอและเผยแพร่ งานกราฟิก จำนวนชั่วโมงเรียนรู้ จำนวนชั่วโมงการเรียนรู้ทั้งหมด 15 ชั่วโมงการเรียนรู้ โดยเรียนรู้ 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (จำนวนชั่วโมงสื่อวีดิทัศน์ 5 ชั่วโมง 15 นาที) วัตถุประสงค์การเรียนรู้ LO1 : ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบกราฟิกได้ LO2 : ผู้เรียนสามารถอธิบายแนวทางการสร้างสนเทศทางกราฟิกได้ LO3 : ผู้เรียนสามารถอธิบายและยกตัวอย่างการสร้างงานกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนแต่ละประเภทได้ LO4 : ผู้เรียนสามารถประเมินผลและประเมินคุณค่า ของงานกราฟิกแต่ละประเภทได้ คุณสมบัติผู้เรียน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ทุกเพศ ทุกวัย ที่สนใจสามารถเรียนได้ เกณฑ์การวัดผล เข้าทำแบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมในบทเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้ ทีมผู้รับผิดชอบรายวิชา MOOC อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหลัก ผศ.ดร.รัฐพล ประดับเวทย์ ภาควิชา เทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ช่องทางติดต่อทีมผู้สอน e-Mail : rattapol@g.swu.ac.th อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหลัก ดร.นิพาดา ไตรรัตน์ ภาควิชา เทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ช่องทางติดต่อทีมผู้สอน e-Mail : nipada@g.swu.ac.th ผู้ช่วยสอนในรายวิชา นายปณิธิ พูลคล้าย นายธัชพล กุลสุนทรนนท์ นายณัฐรมณ์ ฤทธิ์รักษา ภาควิชา เทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ช่องทางติดต่อทีมผู้สอน e-Mail : nipada@g.swu.ac.th Creative commons สัญญาอนุญาตสิทธิ์ “สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Thai MOOC (thaimooc.org) และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BY NC SA”

Tags
Online Course


การออกแบบกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน | Instructional Graphic Design

Affiliate notice

คำอธิบายรายวิชา เรียนรู้เกี่ยวกับหลักการและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบกราฟิกทั้งไทยและต่างประเทศ อินโฟกราฟิก การสร้างสารสนเทศทางกราฟิก การใช้กราฟิกในงานสื่อสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ วีดิทัศน์ และมัลติมีเดีย การใช้งานกราฟิกที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้เรียนในระดับต่าง ๆ กระบวนการคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ การวิเคราะห์งานออกแบบกราฟิก การฝึกปฏิบัติการออกแบบกราฟิกโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ การนำเสนอและเผยแพร่ งานกราฟิก จำนวนชั่วโมงเรียนรู้ จำนวนชั่วโมงการเรียนรู้ทั้งหมด 15 ชั่วโมงการเรียนรู้ โดยเรียนรู้ 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (จำนวนชั่วโมงสื่อวีดิทัศน์ 5 ชั่วโมง 15 นาที) วัตถุประสงค์การเรียนรู้ LO1 : ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบกราฟิกได้ LO2 : ผู้เรียนสามารถอธิบายแนวทางการสร้างสนเทศทางกราฟิกได้ LO3 : ผู้เรียนสามารถอธิบายและยกตัวอย่างการสร้างงานกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนแต่ละประเภทได้ LO4 : ผู้เรียนสามารถประเมินผลและประเมินคุณค่า ของงานกราฟิกแต่ละประเภทได้ คุณสมบัติผู้เรียน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ทุกเพศ ทุกวัย ที่สนใจสามารถเรียนได้ เกณฑ์การวัดผล เข้าทำแบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมในบทเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้ ทีมผู้รับผิดชอบรายวิชา MOOC อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหลัก ผศ.ดร.รัฐพล ประดับเวทย์ ภาควิชา เทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ช่องทางติดต่อทีมผู้สอน e-Mail : rattapol@g.swu.ac.th อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหลัก ดร.นิพาดา ไตรรัตน์ ภาควิชา เทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ช่องทางติดต่อทีมผู้สอน e-Mail : nipada@g.swu.ac.th ผู้ช่วยสอนในรายวิชา นายปณิธิ พูลคล้าย นายธัชพล กุลสุนทรนนท์ นายณัฐรมณ์ ฤทธิ์รักษา ภาควิชา เทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ช่องทางติดต่อทีมผู้สอน e-Mail : nipada@g.swu.ac.th Creative commons สัญญาอนุญาตสิทธิ์ “สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Thai MOOC (thaimooc.org) และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BY NC SA”